นอกเหนือจากการสกัดแยกสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากพืชสมุนไพรโดยตรงแล้ว ห้องปฏิบัติการวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติยังมีความสนใจในการนำสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่สามารถสกัดแยกได้ในปริมาณมาก มาศึกษาต่อยอดร่วมกับกระบวนการทางเคมีอินทรีย์สังเ...
อ่านเพิ่มเติม
พืชเป็นแหล่งผลิตสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีโครงสร้างทางเคมีที่ซับซ้อน และมีความหลากหลาย สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเหล่านี้ได้ถูกนำไปใช้ประโยขน์ในทางการแพทย์ และพบว่ายังมีสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอีกเป็นจำนวนมากที่กำลังถูกนำมาศึกษาและ...
อ่านเพิ่มเติม
การรักษาด้วยแสง (photodynamic therapy, PDT) เป็นวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ได้ผลดีวิธีหนึ่งและมีผลข้างเคียงน้อยเมื่อเทียบกับวิธีการรักษาแบบอื่น ในปัจจุบันได้มีการนำ PDT มาใช้รักษาโรคมะเร็งหลายชนิด โดยสามารถใช้วิธีดังกล่าวเพ...
อ่านเพิ่มเติม
ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่าสภาวะแวดล้อมของเซลล์มะเร็งมีบทบาทสำคัญต่อการลุกลามของมะเร็งและการตอบสนองต่อการรักษา วิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์แบบมาตรฐานบนพื้นผิวพลาสติกไม่ได้คำนึงถึงปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างเซลล์มะเร็...
อ่านเพิ่มเติม
ปัญหาหลักของการรักษาโรคมะเร็ง คือ การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง (metastasis) และการดื้อยา เซลล์มะเร็งสามารถแพร่กระจายจากก้อนเนื้องอกเริ่มต้นไปยังอวัยวะที่อยู่ห่างไกลออกไป และหลบอยู่ในสภาวะจำศีล (cancer dormancy) เป็น...
อ่านเพิ่มเติม
เมื่อการสังเคราะห์โปรตีนเกิดขึ้นในเซลล์แล้ว โปรตีนหลายชนิดสามารถถูกดัดแปลงทางเคมีหลังการแปลรหัส (post-translational modifications) อาทิเช่น การเติมหมู่ฟอสเฟตในกระบวนการฟอสโฟรีเลชั่น (phosphorylation) และ การเติมน้ำตาลเอ็...
อ่านเพิ่มเติม
มะเร็งเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ โดยเซลล์จะมีลักษณะของการแบ่งเซลล์ที่ไม่สามารถควบคุมได้จนเกิดเป็นก้อนเนื้อที่ลุกลามและแพร่กระ จายไปยังเนื้อเยื่ออื่น ๆ ภายในร่างกาย โดยทั่วไปกลไกการเกิดมะเร็งเริ่มจากความเสียหายข...
อ่านเพิ่มเติม
ในช่วงแรกห้องปฏิบัติการวิจัยชีวเคมีได้เริ่มโครงการวิจัยเกี่ยวกับโรคโลหิตจางซึ่งเป็นโรคพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติในฮีโมโกลบิน (hemoglobinopathies) ประกอบด้วยโรคธาลัสซีเมีย (thalassemia) และโรคฮีโมโกลบินผิดปกติ (abnor...
อ่านเพิ่มเติม
กล้วยไม้ในสกุลฟาแลนนอฟซิส (Phalaenopsis) มีอยู่ประมาณ 60-70 ชนิด ในปัจจุบันลูกผสมใหม่ๆ จากกล้วยไม้สกุลนี้มีศักยภาพในการพัฒนาปรับปรุงสายพันธุ์ในเชิงพาณิชย์ได้ ทั้งนี้ หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโ...
อ่านเพิ่มเติม
กล้วยไม้จัดเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย กล้วยไม้หลายสกุลมีความไวต่อการเป็นโรคไวรัสที่อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตได้ ห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพได้ศึกษายีนที่ผลิตโปรตีนหุ้มอนุภาคไวรัสยอดบิด Cymbidium mosaic virus ...
อ่านเพิ่มเติม
เพื่อศึกษากลไกของมลพิษ โดยเฉพาะสารก่อมะเร็งในสิ่งแวดล้อม ต่อการเกิดโรค เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับสัมผัสสารเคมีจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสารก่อมะเร็งในอากาศและในน้ำ และผลกระทบต่อสุขภาพในประชา...
อ่านเพิ่มเติม
“โครงการทับทิมสยาม” เป็นโครงการอนุรักษ์ และบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างครบวงจร ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในหมู่บ้านตามแนวจังหวัดชายแดนไทย-กัมพูชา โดยเป็นอีกโครงการหนึ่งที่ดำเนินการต่อเนื่องมาจ...
อ่านเพิ่มเติม