เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลาประมาณ 13.30 น ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ทรงมีพระดำริให้สถาบันวิจัยจุฬา...
อ่านเพิ่มเติม
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2565 เวลาประมาณ 10.00 น. คณะผู้บริหารของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองประธานกรรมการบริหารสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ฝ่ายบริหารและอาคารสถา...
อ่านเพิ่มเติม
เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 17.05 น. (ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น) สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒนวรขัตติยราชนารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เสด็จออก ณ ห้องที่ประทับ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ทรงบำเพ็ญพระกุ...
อ่านเพิ่มเติม
ด้วยน้ำพระทัยบรรเทาทุกข์ภัย ในยามที่ประชาชนประสบความเดือดร้อนจากภัยพิบัติธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิด ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒนวรขัตติยราชนารี ...
อ่านเพิ่มเติม
ด้วยเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกันว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ทรงให้ความสำคัญในด้าน...
อ่านเพิ่มเติม
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ กำหนดจัด “งานแนะนำหลักสูตร CGI OPEN HOUSE 2023” และสอบคัดเลือกผู้รับทุนการศึกษาตลอดระยะเวลาหลักสูตรพร้อมค่าใช้จ่ายรายเดือน ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้ทุนยังมีโอกาสได้ฝึกงานวิจัย ณ มหาวิทย...
อ่านเพิ่มเติม
เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 08.00 น. สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ จัดกิจกรรมน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชา...
อ่านเพิ่มเติม
ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เชื้อจุลชีพก่อโรคในมนุษย์ได้ คือ ความสามารถในการหลบหลีกระบบภูมิคุ้มกันในมนุษย์ได้สำเร็จ ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ที่ใช้ต่อสู้แบคทีเรีย คือ เซลล์เม็ดเลือดขาว อาทิ แมคโครฟาจ และ นิวโทรฟิลล์ (ภาพ...
อ่านเพิ่มเติม
การติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นหนึ่งในปัญหาหลักที่ทำให้ประเทศทั้งที่พัฒนาแล้วและประเทศที่กำลังพัฒนา โดยการติดเชื้อในโรงพยาบาลมักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียดื้อยา ทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการเสียชีวิตสูง และสูญเสียเม็ดเงินไปเพื่อจัดหายา...
อ่านเพิ่มเติม
การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ทั่วโลก และได้รับการยอมรับว่าเป็นภัยเงียบของโรคระบาด รายงานล่าสุดในปี 2019 เปิดเผยว่าการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการดื้อยาต้านจุลชีพ มีจำนวนประมาณ 4.95 ล้านคนต่อป...
อ่านเพิ่มเติม
ปัจจุบันแหล่งน้ำจืดในประเทศไทย ประสบปัญหาความเสื่อมโทรมของคุณภาพน้ำมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงแม่น้ำเจ้าพระยา อันเป็นแหล่งน้ำดิบที่สำคัญสำหรับการผลิตน้ำประปาของการประปานครหลวง ด้วยเหตุนี้ การประปานครหลวงเล็งเห็นความสำคัญของก...
อ่านเพิ่มเติม
ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี องค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ทรงห่วงใยในปัญหาสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นสำคัญ หากประชาชนมีสุขภาพดีจะเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศต่...
อ่านเพิ่มเติม